อ่านค่าสีตัวต้านทาน R ตัวนี้อ่านค่าได้กี่โอห์ม บางครั้งง่าย บางครั้งยาก

อ่านค่าสีตัวต้านทาน และแนวทางพิจารณา


อ่านค่าสีตัวต้านทาน


R  ตัวนี้อ่านค่าได้กี่โอห์ม  ?   ทำไมบางครั้งจึงง่าย  บางครั้งจึงยาก  ?    ตัวท้านทานที่ไหม้ หรือตัวต้านทานที่เก่ามากมาก  แถบสีจะจางเสียหายมากและไม่มีแถบสีให้อ่านค่าเลย   เคสเแบบนี้ต้องเช็คค่า R จากคู่มือหรือลายวงจรของเครื่อง   อาจดูจากเครืองอื่นๆที่วงจรยังปกติ    อีกหนึ่งปัญหาของการอ่านค่าสีตัวต้านทานคือ ด้านไหนเป็น % คลาดเคลื่อน   ?   และ ด้านไหนเป็นแถบสีที่ 1      วิธีการที่ง่ายคือให้เทียบกับตัวมาตรฐาน   ด้าน % คลาดเคลื่อนจะเป็นสีน้ำตาล =  ± 1%     ,  ทอง  =  ± 5%      

ปกติวงจรใน 1 วงจรจะมีตัวต้านทานเยอะ  ให้เทียบกับตัวที่อยู่ใกล้ๆ  ตัวอื่นๆในวงจร หรือดูจากวงจรอื่นๆเครื่องอื่นๆเพื่อเป็นแนวทางว่า R มาตรฐานแถบสีมันอย่างไร    อีกหนึ่งกรณีคือให้สังเกตแถบสีที่ 1  ตัวอย่างเช่นในรูป สีเหลืองแถบสีแรก ไม่รู้ว่ามันอ่านค่าได้กีโอห์ม  กี่ K  Ohm  แต่เรารู้ว่าเหลืองคือ 4  เมื่อใช้มัลติมิเตอร์วัดมันต้องขึ้นเลข 4  หรือใกล้เคียง 4 มากมาก  ส่วนหน่วยจะเป็น  โอห์ม   , K  โอห์ม หรือ M   โอห์ม    ช่วยให้เราประเมินเบื้องต้นได้ว่า R ไม่เสียเพราะค่าของมันมีแนวโน้มตามค่าของแถบสีที่ 1 

    

อ่านค่าสีตัวต้านทาน  ອຸປະກອນອີເລັກໂທນິກ

   แถบสีมาตรฐานของ R    ใช้เทียบเมื่ออ่านค่า R 

   


เลือก หัวข้อ  / เรื่อง  อ่านต่อ