เบอร์แทนไดโอด หาเบอร์แทน

เบอร์แทนไดโอด    และ   แนวทางเทียบเบอร์ไดโอด


เบอร์แทนไดโอด  หาเบอร์แทน


ไดโอดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลายตัวในหนึ่งวงจร เพราะใช้ทั้งวงจรไฟ AC และ DC  ทั้งในส่วนที่เป็นพาวเวอร์และส่วนที่เป็นสัญญาณ      ทำหน้าที่เรียงกระแส  ป้องกันแรงดันเกินให้กับอุปกรณ์ตัวอื่นๆ ,  ป้องกันการต่อผิดขั้วสลับขั้ว ,  Switching    ,  Small Signal  , งาน POWER   เป็นต้น  ไดโอดสเปคธรรมดานั้นหาง่ายและเทียบเบอร์ได้ไม่ยาก  
ให้เช็คสเปคที่สำคัญ เช่น

-    แรงดัน   PRV  Max    =   Peak   Reverse  Voltage    ค่า V เท่ากันหรือสูงกว่าใช้แทนได้
     เป็นแรงดันที่ทนได้ขณะไดโอดถูกไบอัสกลับ
-    กระแส   Io   Max  = Average  Rectified   Current    ค่ากระแสเท่ากันหรือสูงกว่าใช้แทนได้  
-    แรงดันตกคร่อม VF   แรงดันตกคร่อมยิ่งน้อยยิ่งดี จะมีการสูญเสียที่ตัวไดโอดน้อยไปด้วย
-    กรณีใช้งาน Switching ความถี่สูง   ต้องเช็คความเร็ว trr  = reverse   recovery  time   คือระยะเวลาคืนตัว    ค่า trr  ของไดโอดต้องใกล้เคียงกัน หรือ มีความเร็วมากกว่าตัวเดิมยิ่งดี ( ค่า trr ยิ่งน้อยยิ่งเร็ว )


ตัวอย่างการแยกประเภทไดโอดตามประเภทการใช้งาน    เช่น 

1)  ใช้งานทั่วไป  ( General purpose )  วงจรความถี่ต่ำ  วงจรไฟ DC
2)   Fast    Switching    ใช้งานความถี่สูง เช่น วงจรอินเวอเตอร์   แหล่งจ่ายไฟแบบสวิตชิ่ง
3)   Fast   Recovery      คืนตัวเร็ว เน้นความเร็วเป็นพิเศษ  และ  ใช้งานความถี่สูง  มีค่าเวลา  trr ให้เลือกหลายค่าว่ามันเร็วแค่ไหน  เช่น    200ns    150ns   120ns   เป็นต้น

ให้ดูประเภทและสปคของไดโอดตัวเก่าก่อน   แล้วนำมาเทียบกับเบอร์แทน   
นอกจากนั้นต้องเช็คตัวถังและขนาดว่าใส่ได้ไหม ?     ถ้าเป็นแบบเกลียวต้องเช็คขนาดเกลียวด้วย    สำหรับไดโอดหลายตัวรวมเป็นมอดูล อยู่ในเคสเดียวกัน  ต้องเช็คตำเหน่งขาและระยะขา  ข้างในอาจมีไดโอด 2 ตัว  3 ตัวหรือ 4 ตัว    ถ้างานไม่รีบจริงๆให้ใช้ไดโอดเบอร์เดิมเพราะไดโอดเบอร์เดิมหาได้ไม่ยาก    วงจรพื้นฐานใช้เบอร์แทนได้โดยไม่มีปัญหา



วิธีการใช้มัลติมิเตอร์      วัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

 มี    15   ตอน   การใช้งานมัลติมิเตอร์     เพื่อวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

 -    เช็คดีเสียเป็น    
 -    วัดอุปกรณ์เป็น   ครบอุปกรณ์ที่สำคัญ
 -      เตรียมตัวไปทำงาน หรือ สมัครงาน  มีพื้นฐานดี  สามารถต่อยอดไปได้ไกล  
        บริษัทหรือหน่วยงานต่างๆต้องการคนที่มีพื้นฐานดีและเตรียมพร้อมจะทำงาน  
        เมื่อเข้าไปทำงานแล้วใช้เวลาเรียนรู้งานไม่มาก
-       ลดต้นทุน    ใช้ของให้คุ้มค่า    อุปกรณ์หายากแล้วจำเป็นต้องซ่อมเพื่อใช้งานต่อ  
        ทำงานเกี่ยวกับการซ่อมบำรุง


อ่านได้ที่     Google  play   books    
กดที่รูปปกหนังสือ (รูปที่  1)    จะไปยังหน้าเพจหนังสือให้


หนังสือ   ebook  Google play books

         รูปปก   หนังสือ  E- book  " การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับงานซ่อม " 
                         อ่านได้ที่   Google play books   มี   15  เรื่องในเล่ม   


อ่านที่   Mebmarket   ได้ทั้ง   Android   และ  IOS
Mebmarket ร้าน  E book ชั้นนำของไทย
ใช้ชื่อหนังสือค้นใน   google ก็เจอ  เช่นกัน 
ชื่อ :   การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับงานซ่อม








ตัวอย่าง หัวข้อในหนังสือ
ครบ การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญ  หนังสือ " การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับงานซ่อม "
มี 15 บท มีให้อ่านที่ร้านอีบุ๊คชั้นนำ    Google Play Books  
และ   MEBMARKET 
หนังสือสำหรับ ช่างซ่อม นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิค อาชีวะ สายอาชีพ และผู้ทีสนใจหนังสือช่าง   
สารบัญมี    15 บท  ดังนี้
1)   วิธีวัดไอจีบีที       2)  วิธีวัดมอสเฟต     3) วิธีวัดไตรแอค     4)  วิธีวัดเอสซีอาร์    
5)   วิธีวัดทรานซิสเตอร์   6)   วิธีวัดไอซี  DIP   8   ขา  16 ขา   20  ขา      7)  วิธีวัดไอซี  OPTO     
8)   วิธีวัดไอซีเร็กกูเลเตอร์ตระกูล  78XX   79XX
9)   วิธีวัดไดโอด     10)  วิธีวัดซีเนอร์ไดโอด     11)   วิธีวัดไดโอดบริดจ์  ขั้นเทพ   
12)    วิธีวัด LED    13)  วิธีวัดตัวต้านทาน     14)  วิธีวัดตัวต้านทานปรับค่าได้  วัด VR     
15)    วิธีวัดคาปาซิเตอร์  
อ่านได้ที่     Google  play   books    
กด    รูปปกหนังสือ (รูปที่  1)    จะไปยังหน้าเพจหนังสือให้